ขวดน้ำใช้ซ้ำ ที่มีชื่อแบรนด์ว่า Air Up สตาร์ตอัปขวดน้ำจากเยอรมนี ที่ PepsiCo ร่วมลงทุน
ขวดน้ำใช้ซ้ำ ซึ่งมูลค่าซื้อขายขวดน้ำดื่มเกรดพรีเมียมทั้งโลกในปี 2020 มีมูลค่าอยู่ที่ 300,000 ล้านบาท และมีท่าทีว่าแนวโน้มจะเติบโตขึ้นไปเรื่อย ๆ
แม้ว่าในสมัยนี้ผู้คนจะเริ่มหันมา ให้ความสำคัญรักษ์สิ่งแวดล้อม ขวดน้ำพลาสติก รี ยู ส แต่สำหรับคนที่เป็นคนติดน้ำอัดลม ชอบดื่มน้ำหวาน ๆ เป็นเป็นประจำ เรื่องของการอนุรักษ์โลกดูเหมือนเป็นเรื่องยาก เนื่องจากขวดที่ใส่น้ำอัดลมส่วนใหญ่ ยังทำจากพลาสติก
ขวดใส่น้ำ ปลอดภัย ในตอนนี้ได้มีสตาร์ตอัปขวดน้ำ ขวดใส่น้ำ ปลอดภัย สัญชาติเยอรมนีแห่งหนึ่ง ได้พยายามคิดค้นขวดน้ำ ที่ไม่ไช่แค่ช่วยอนุรักษ์โลกเท่านั้น อีกทั้งยังเป็นทางเลือกของคนรุ่นใหม่ เหมาะกับคนติดน้ำอัดลมซึ่งบริษัทนี้มีชื่อว่า Air Up คิดค้นโดยนักศึกษาจากเยอรมันทั้ง 5 คนซึ่งได้มีบริษัทน้ำอัดลมชื่อเสียงระดับโลก PepsiCo ก็สนใจเข้าลงทุนในบริษัท Air Up นี้อีกด้วย
ขวดน้ำใช้ซ้ำ ถ้าหากเราใช้ขวดน้ำที่เป็นพลาสติก จะส่งผลอันตรายต่อร่างกายหรือไม่
ขวดน้ำพลาสติก คือ ขวดน้ำพลาสติกที่คนส่วนใหญ่ใช้ ขวดน้ำพลาสติกปลอดภัย มีอีกชื่อเรียกว่า ขวด PET หรือ PETE ชื่อเต็ม ก็คือ polyethylene terephthalate ethylene คือพลาสติกใสที่ใช้ใส่น้ำดื่ม น้ำอัดลม เครื่องดื่ม น้ำผลไม้ รวมถึงอาหารบางชนิด ให้ดูจากสัญลักษณ์ลูกศร วนเป็นสามเหลี่ยมบริเวณก้นขวด ถือได้ว่าได้ถูกเป็นที่ยอมรับ ว่านำมาใช้ใส่อาหารซ้ำ ได้โดยปลอดภัยปราศจากสารเคมี เนื่องจากได้รับการวิจัยในหลาย ๆ ประเทศพบว่า ขวด PET หรือ PETE นั้นตรวจเจอค่าสารเคมีไม่เกินค่ามาตรฐานที่กำหนด และยอมรับว่าเอามาใช้ใส่อาหารซ้ำได้
แต่เรื่องที่ต้องระมัดระวังคือการได้รับเชื้อโรค หรือมีภัยต่อร่างกาย ขวดน้ำพลาสติก pet น่าจะเป็นเรื่องของ “ความสะอาด” เพราะว่าการนำขวดน้ำพลาสติกใช้ใส่น้ำซ้ำ ๆ ยิ่งขวดที่มีรูปทรงต่าง ๆ มีร่องหรือซอกหลืบ สามารถเกิดความเสี่ยงต่อเรื่อง จะเกิดเชื้อโรคที่เป็นอันตรายกับร่างกายได้ เนื่องจากเป็นพื้นที่สะสมของเชื้อโรค เช่น จุลินทรีย์ที่เจอเป็นส่วนใหญ่ ก็คือ “โคลิฟอร์มแบคทีเรีย” นั่นเป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่จะเจอบ่อย อยู่ในสิ่งสกปรกต่าง ๆ ถ้าหากร่างกายได้รับเชื้อโรคนี้เข้าไป จะทำให้เกิดอาการท้องเสียท้องร่วงได้ค่ะ
ขวดน้ำพลาสติก รี ยู ส ความเป็นมาของขวดน้ำใช้ซ้ำ ที่แรกเริ่มมาจากวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา นำไปสู่ไอเดียจนกลายเป็นธุรกิจ
Lena Jungst ศึกษาจบในสาขาเอก การออกแบบบรรจุภัณฑ์มาโดยตรง ซึ่งในสมัยนั้น “ขวดน้ำ” ถือว่าเป็นสิ่งที่ได้ออกแบบมา ขวดพลาสติก pet คือ จุดประสงค์คือใช้วิทยานิพนธ์ตอนเรียนจบ ซึ่งหัวข้อวิทยานิพนธ์ในตอนเรียน คือการใช้เรื่องประสาทวิทยาศาสตร์ มาผสมผสานกับงานดีไซน์
โดยไอเดียของการคิดทำ Air Up ได้จุดประกายระหว่างที่คุณ Lena Jungst และหนึ่งในผู้คิดค้นอีกคนกำลังฟังรายการ Ted Talks พูดถึงเรื่องรสชาติต่าง ๆ ที่สามารถกระจายผ่าน “กลิ่น” ได้ทั้งคู่จึงได้ทำวิทยานิพนธ์ ซึ่งมีความคิดที่อยากจะคิดค้นขวดน้ำดื่ม ที่สามารถสร้างรสชาติได้ด้วยกลิ่น พอได้ยินเรื่องนี้แล้ว หลายคนจึงให้ความสนใจ กับสิ่งที่เธอริเริ่มทำเป็นอย่างมาก ขวดน้ำ ใช้ซ้ำ pantip และมองเห็นความเป็นไปได้ ที่จะต่อยอดให้เกิดธุรกิจ
โดยจากเดิมที่ Air Up เป็นเพียงวิทยานิพนธ์ล ได้พัฒนามาเป็นธุรกิจจริง ๆ ในที่สุดหลังจากนั้นในปี 2017 คุณ Lena Jungst และเพื่อน ๆ อีก 4 คน จึงได้พา Air Up ไปนำเสนอในงาน Exist Startup Grant ซึ่งสนับสนุนโดยรัฐบาลเยอรมนี จนคว้าทุนและเปิดตัวบริษัท Air Up และได้วางจำหน่ายสู่ท้องตลาดในปี 2019
ในเวลาต่อมาจากที่ได้เปิดตัว จนถึงปัจจุบันก็นับได้ระยะเวลาประมาณ 2 ปี Air Up สามารถรวบรวมเงินจากนักลงทุนไปได้แล้วกว่า 3,000 ล้านบาท ซึ่งหนึ่งในเหล่านักลงทุน ก็คือบริษัทเครื่องดื่มและขนมระดับโลกอย่าง PepsiCo ที่ร่วมลงทุนด้วย
ขวดนม พลาสติก กลับมาใช้ใหม่ ทำไมถึงได้รับความสนใจขนาดนี้
ความเป็นจริงแล้วลักษณะขวดน้ำของ Air Up นั้น พูดได้ว่าไม่ค่อยต่างจากขวดน้ำแบบอื่น ๆ เลย หากได้ลองดูดี ๆ ตรงจุดที่เอาไว้ดื่มน้ำ จะมีสิ่งที่ให้เราได้เอา “กลิ่น” มาใส่ได้ โดยจุดนี้เอง ที่ทำให้ Air Up แตกต่างจากขวดน้ำแบรนด์อื่น ๆ แต่ก่อนที่จะพูดถึงต่อ จะขออธิบายอีกนิดว่าทำไมกลิ่นถึงสามารถให้รสชาติได้
โดยที่จริงแล้วอวัยวะที่สามารถรับรสของมนุษย์ได้คือ “ลิ้น” โดยแต่ละต่อมของลิ้นก็จะรับหน้าที่ในการสัมผัสรสชาติที่ไม่เหมือนกัน ทั้งหวาน เปรี้ยว เค็ม ในขณะเดียวกันนอกจากเรื่องรสชาติ ที่เราได้รับจากการรับประทานอาหารทางปากแล้ว ร่างกายของเราก็รับรสจากสิ่งที่เรียกว่า กลิ่นรส (Flavor) ได้เช่นกัน โดยจะเห็นได้ชัดเวลาผู้คนเป็นหวัดแล้วจมูกตัน นั่นทำให้สามารถรับรสชาติของอาหารลดลง
เนื่องจากประสาทสัมผัสในส่วนของ “กลิ่นรส” ทำงานได้ลดน้อยลงนั่นเอง ขวดน้ำ Air Up จึงได้เอา “กลิ่นรส” นี้ เพื่อ “หลอกสมอง” ว่าน้ำที่กำลังดื่มนั้นมี “รสชาติ” ไม่ใช่เพียงน้ำเปล่าทั่วไป สิ่งที่น่าสนใจคือการมีผู้ลงทุนเป็นหลักพันล้าน ได้ในระยะเวลาเพียงไม่กี่ปี Air Up คงไม่ได้มีดีเพียงนำเรื่องเทคโนโลยีที่น่าทึ่ง เพราะผลิตภัณฑ์ของ Air Up ยังออกมาแล้วตรงใจลูกค้า อีกทั้งยังเข้ากับเทรนด์ของผู้คนในยุคสมัยนี้ ที่เริ่มหันมาให้ความสำคัญกับ สินค้าเพื่อสุขภาพที่เป็นกระแสอยู่ตอนนี้
โดยเฉพาะทั้งเด็กรุ่นใหม่ และผู้ใหญ่เอง ที่ก็หันมาสนใจสุขภาพมากขึ้น
นอกจากนั้น Air Up ยังสนับสนุนเรื่อง เทรนด์รักษ์โลก ด้วย ถือว่าเป็นอีกเรื่องที่ผู้คนกำลังตระหนักถึงเพราะการนำขวดน้ำแบบใช้ซ้ำได้ ถือว่าเป็นอีกทางเลือกสำหรับคนที่อยากรักษ์โลก ยิ่งหากคนไหนเป็นคนที่ชอบการดื่มน้ำอัดลม
และใส่ใจสิ่งแวดล้อมไปพร้อม ๆ กัน การเสียเงินเพิ่มอีกนิดหน่อย ขวดพลาสติก ทํามาจากวัสดุอะไร เพื่อจะได้ขวดน้ำที่มีเทคโนโลยีเรื่องกลิ่นเพิ่มขึ้นมา ก็ดูเป็นอีกเรื่องที่ฟังดูดีเลยทีเดียว
ซึ่งราคาของขวด Air Up มีราคาขวดละ 1,100 บาท โดยราคานี้รวมกับตัวที่ใส่กลิ่นแล้วหากลองเปรียบเทียบกับ ราคาของขวดน้ำพรีเมียมที่สามารถใช้ซ้ำแบรนด์อื่น ๆ ก็มีราคาอยู่ประมาณ 1,000-2,000 บาทต่อขวด พูดได้ว่าไม่ได้แตกต่างกันสักเท่าไหร่
มาดูทางด้านตัวที่เก็บกลิ่นของ Air Up ซึ่งมีราคาถุงละ 270 บาท โดยสามารถใช้ได้ทั้งหมด 24 ครั้งลองคิดดูว่าการดื่มน้ำ 1 ครั้งมีราคาเฉลี่ยประมาณ 12 บาท
หากเอามาเทียบกับราคา น้ำอัดลม ที่ผู้คนเสียเงินในปริมาณเท่ากันแล้ว แม้ว่าไม่ค่อยต่างกัน แต่ถือว่ามีประโยชน์กับสุขภาพมากกว่า ถือได้ว่าเป็นอีกหนึ่งทางเลือก ของคนที่ชื่นชอบน้ำหวาน ให้ลดดื่มน้ำหวานได้แบบไม่หักดิบ
จากเรื่องของ Air Up ถือว่าเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่น่าสนใจ เนื่องจากเทรนด์น้ำดื่ม และขวดน้ำแบบใช้ซ้ำ ที่เป็นกระแสในสมัยนี้ อีกทั้งยังได้รับความสนใจจากผู้ลงทุนอย่างบริษัท PepsiCo ที่มีชื่อเสียงเรื่องน้ำอัดลม พูดได้ว่าเป็นสิ่งที่บ่งบอกได้ว่าขวดน้ำของ Air Up นั้นยังมีอนาคตสดใสอีกไกลแน่นอน
เรียบเรียงโดย อลิส